|
|
|
|
|
การ
ควบคุมอุปกรณ์ไฟฟ้า ผ่านสาย AC-Line ด้วยมาตรฐาน X10 |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
การใช้งาน
X-10 Home/office Automation |
|
|
|
|
|
- X-10
เป็นรูปแบบ การส่งข้อมูลบนสาย AC-Line (Power Line Carrier (P.L.C.)
transmission) ซึ่งได้ถูกคิดขึ้นมาโดย Sears Home Control System และ
the Radio Shack ในปี 1978 โดยใช้ชื่อว่า X-10 ซึ่งต่อมาสินค้าประเภท
Remote control และ Home Automation ที่ใช้มาตรฐาน X-10 นี้ ได้แพร่หลายไปทั่วโลกเนื่องจาก
มีลักษณะการใช้งานเป็น แบบ plug-in คือซื้อไปแล้วใช้งานได้ทันทีไม่ต้องมีการติดตั้งหรือเดินสาย
และสามารถซื้อโมดูลที่มีความสามารถอื่นๆ มาเพิ่มเติมได้ทีหลัง
- และเนื่องจากมีผู้ผลิตในต่างประเทศหลายรายที่ใช้มาตรฐาน
X-10 หากอุปกรณ์ชำรุด หรือสูญหาย ก็สามารถหาซื้อ ทดแทนได้ง่าย โดยอุปกรณ์ของทุกบริษัทที่ใช้มาตรฐานนี้
สามารถใช้ร่วมกันได้ เพียงแต่ตั้งแอดเดรสให้ตรงกันเท่านั้น
|
|
|
|
|
|
|
|
|
ทฤษฎี |
|
|
- การส่งข้อมูลจะอาศัยการสร้างสัญญาณนาฬิกาที่ได้จากจุดตัดศูนย์
(zero crossing point) โดยค่าของข้อมูล binary 1 จะส่งสัญญาณ burst
มีความถี่ 120KHz จำนวน 3 ลูก (เพื่อให้ครอบคลุมทั้ง 3 เฟส) หลังจากจุดตัดศูนย์
โดย ไม่จำเป็นว่าจะเป็นขอบขาขึ้นหรือขอบขาลง ของสัญญาณนาฬิกา และค่าของข้อมูล
binary 0 จะเป็นการเว้นว่างของสัญญาณ burst
- ดังนั้นใน
1 ไซเคิล สามารถจะส่งข้อมูลได้ 2 บิท
รายละเอียดของระยะเวลาดูได้จากรูปที่ 1
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
รูปที่
1 การส่งข้อมูลบน AC-Line ของ X-10 PRO ที่ความถี่ 50 Hz |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
โครงสร้างของ
Block ข้อมูล |
|
|
โครงสร้างของ
Block ข้อมูล จะประกอบด้วย Start code ,House
code ,Key Code |
|
|
- เมื่อเป็น
Block ข้อมูลระบุแอดเดรส Key Code จะหมายถึง
Number Code
- เมื่อเป็น
Block ข้อมูลระบุฟังก์ชัน Key Code จะหมายถึง
Function Code
Start code เป็นข้อมูลไบนารี 4 บิทคือ 1110
|
|
|
|
|
|
วิธีการส่ง
Block ข้อมูลของชุดคำสั่ง |
|
|
Block
ข้อมูลระบุแอดเดรส จะต้องตามด้วย Block ข้อมูลฟังก์ชัน เช่น |
|
|
- Block ข้อมูลระบุแอดเดรส
ประกอบด้วย (Start code ,House code ,Number code) (ส่ง 2 ครั้งติดกัน)
- ช่องว่าง
(GAP) คือข้อมูล 000000 (เว้นว่างอย่างน้อย 3 ไซเคิ้ล)
- Block ข้อมูลระบุฟังก์ชั่น
ประกอบด้วย (Start code ,House code ,Function code) (ส่ง 2 ครั้งติดกัน)
|
|
|
|
|
|
|
|
|
ชุดคำสั่งระบุแอดเดรสและฟังก์ชัน |
|
|
|
|
|
|
|
|
House |
House
Codes |
Addresses |
H1 |
H2 |
H4 |
H8 |
A |
0 |
1 |
1 |
0 |
B |
1 |
1 |
1 |
0 |
C |
0 |
0 |
1 |
0 |
D |
1 |
0 |
1 |
0 |
E |
0 |
0 |
0 |
1 |
F |
1 |
0 |
0 |
1 |
G |
0 |
1 |
0 |
1 |
H |
1 |
1 |
0 |
1 |
I |
0 |
1 |
1 |
1 |
J |
1 |
1 |
1 |
1 |
K |
0 |
0 |
1 |
1 |
L |
1 |
0 |
1 |
1 |
M |
0 |
0 |
0 |
0 |
N |
1 |
0 |
0 |
0 |
O |
0 |
1 |
0 |
0 |
P |
1 |
1 |
0 |
0 |
|
|
|
ตารางที่1
House code |
|
|
|
|
|
Unit
address |
Key
Codes |
|
Number
Code |
|
D1 |
D2 |
D4 |
D8 |
D16 |
1 |
0 |
1 |
1 |
0 |
0 |
2 |
1 |
1 |
1 |
0 |
0 |
3 |
0 |
0 |
1 |
0 |
0 |
4 |
1 |
0 |
1 |
0 |
0 |
5 |
0 |
0 |
0 |
1 |
0 |
6 |
1 |
0 |
0 |
1 |
0 |
7 |
0 |
1 |
0 |
1 |
0 |
8 |
1 |
1 |
0 |
1 |
0 |
9 |
0 |
1 |
1 |
1 |
0 |
10 |
1 |
1 |
1 |
1 |
0 |
11 |
0 |
0 |
1 |
1 |
0 |
12 |
1 |
0 |
1 |
1 |
0 |
13 |
0 |
0 |
0 |
0 |
0 |
14 |
1 |
0 |
0 |
0 |
0 |
15 |
0 |
1 |
0 |
0 |
0 |
16 |
1 |
1 |
0 |
0 |
0 |
|
|
Function
Code |
All
Units Off |
0 |
0 |
0 |
0 |
1 |
All
Units On |
0 |
0 |
0 |
1 |
1 |
On |
0 |
0 |
1 |
0 |
1 |
Off |
0 |
0 |
1 |
1 |
1 |
Dim |
0 |
1 |
0 |
0 |
1 |
Bright |
0 |
1 |
0 |
1 |
1 |
All
Lights Off |
0 |
1 |
1 |
0 |
1 |
Extended
Code |
0 |
1 |
1 |
1 |
1 |
Hail
Request |
1 |
0 |
0 |
0 |
1 |
Hail
Acknowledge |
1 |
0 |
0 |
1 |
1 |
Pre-set
Dim |
1 |
0 |
1 |
X |
1 |
Extended
Code |
1 |
1 |
0 |
0 |
1 |
(Analog) |
|
|
|
|
|
Status
= On |
1 |
1 |
0 |
1 |
1 |
Status
= Off |
1 |
1 |
1 |
0 |
1 |
Status
Request |
1 |
1 |
1 |
1 |
1 |
|
|
|
ตารางที่ 2 Key
Code |
|
|
|
|
|
|
|
|
วิธีการส่งข้อมูลของ
House code และ Keycode |
|
|
- หลังจากที่ส่ง
Start Code ไปแล้วนั้น ส่วนของ Key Code (Number code และ Function code)
จะต้องส่งแบบ บิทแล้วตามด้วย compliment (ส่วนกลับ) ของบิทนั้น
- เช่น House
code A = 0110 compliment = 1001 และ Number
Code 2 =11100 มี compliment = 00011
- ดังนั้นการส่งข้อมูลแอดเดรสของ
A2 จะเป็น 1110 + 01101001
+ 1010100101
|
|
|
|
|
|
|
|
|
การส่งข้อมูลแบบบิทแล้วตามด้วย
compliment ของบิทนั้น (ไม่รวม Start Code) |
|
|
|
|
|
- ตัวอย่างต้องการส่งข้อมูล
House code =A ,Number code =2 ,Function code = ON
- การส่งชุดคำสั่งนี้คือ
|
|
|
A2 ON
1110 0110 1001 1010 1001 01
1110 0110 1001 1010 1001 01
000000
1110 0110 1001 0101 1001 10
1110 0110 1001 0101 1001 10
|
|
|
|
|
|
การส่งข้อมูลฟังก์ชัน ไม่ต้องระบุ Number code |
|
|
- ชุดคำสั่งระบุฟังก์ชั่น
จะตามด้วย House code ,Function code โดยสามารถส่งติดต่อกันไปเรื่อยๆ
โดยไม่ต้องมี Gap
- แต่ถ้าเป็น
Function Code ที่ต่างกันจะต้องเว้นด้วย Gap
|
|
|
|
|
|
|
|
|
เช่นคำสัง
dim และ Bright |
|
|
หลังจากที่ส่งชุดคำสั่งระบุแอดเดรสและฟังก์ชัน
= ON แล้ว ให้ส่งคำสั่งฟังก์ชัน dim หรือ Bright ตามภายใน 15 วินาที |
|
|
|
|
|
dim
1110 0110 1001 0110 0101 10 1110 0110 1001 0110 0101 10
1110 0110 1001 0110 0101 10
1110 0110 1001 0110 0101 10
...
|
|
|
โดยทุก 1 Block
Function ของ dim จะทำให้อุปกรณ์ที่ควบคุมความสว่างของหลอดไฟ มีค่าลดลง 1 |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
ศมิทธิ์
เอมสมบัติ |
|
|
|
|
|